วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561
ER Diagram(อีอาร์ ไดอะแกรม) คืออะไร แบบจำลองโครงสร้างฐานข้อมูล
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล นั้น จำเป็นต้องมีโครงสร้างฐานข้อมูลที่มีระเบียบ มีโครงสร้างดังนั้นจึงต้องมีการใช้เอกสารในการสื่อสารระหว่าง นักออกแบบระบบ และนักพัฒนาระบบ เพื่อให้สื่อสารอย่างเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน เพราะจะได้นำโครงสร้างระบบไปพัฒนาระบบที่ใช้โครงสร้างฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ER Diagram: Entity-Relationship Diagram (อีอาร์ ไดอะแกรม: เอนทิตี้ รีเลชั่น ไดอะแกรม) คือแบบจำลองที่อธิบายโครงสร้างฐานข้อมูล ซึ่งเขียนออกมาในลักษณะรูปภาพ และ การอธิบายโครงสร้างและความสัมพันธ์ของข้อมูล
1. Entity(เอนทิตี้) เป็นวัตถุ หรือสิ่งของที่เราสนใจในระบบงานนั้น ๆ
2 Attribute(แอตทริบิ้ว) เป็นคุณสมบัติของวัตถุ
3 Relationships ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้
ER Diagram(อีอาร์ ไดอะแกรม) เป็นการออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลเพื่อ ให้นักวิเคราะห์ระบบ และ นักพัฒนาระบบเข้าใจตรงกันไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อจะได้นำไปพัฒนาโครงสร้างข้อมูลของระบบไ้ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
ER Diagram(อีอาร์ ไดอะแกรม) คืออะไร แบบจำลองโครงสร้างฐานข้อมูล
วันพุธที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2561
แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) : DFD
Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม) คืออะไร แผนภาพแสดงการไหลของข้อมูล
Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม)
Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม)
การพัฒนาระบบในปัจจุบันนั้นจำเป็นต้องมีการออกแบบระบบต่างๆ ก่อนจะนำไปพัฒนาจริง ไม่ว่า จะเป็น Er-diagram(อีอาไดอะแกรม), Data Dictionary(ดาต้า ดิกชินนารี่) ซึ่งการพัฒนาส่วนใหญ่นั้นจะมีการไหลเวียนของข้อมูลอยู่ตลอด จึงจำเป็นจะต้องทำแผนภาพแสดงการไหลของข้อมูลของDatabase(ดาต้าเบส) SQL(เอสคิวแอล) โดยอย่างละเอียด ก่อนไปพัฒนาระบบจริง โดยได้มีการนำ Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม ไปใช้สร้างแผนภาพการไหลของข้อมูล
Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม) คือ เป็นเครื่องมือที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการเขียนแบบระบบใหม่ ในการเขียนแผนภาพจำลองการทำงานของกระบวนการ Process(โปรโซส) ต่าง ๆ ในระบบ และเป็นแผนภาพแสดงการไหลของข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายนอกเข้ามาในระบบ เพื่อแสดงวิธีการไหลของข้อมูลจากกระบวนการหนึ่งไปอีกกระบวนการหนึ่ง
Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม) จะช่วยแสดงแผนภาพการทำงานของโปรแกรมที่เข้าในระบบ ว่าข้อมูลจากไหนไปไหน เก็บข้อมูลไว้ที่ไหน และมีอะไรเกิดขึ้นกับข้อมูลระหว่างการส่งข้อมูลบ้าง ซึ่งปัจจุบันผู้พัฒนาระบบส่วนใหญ่ได้ใช้ Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม) ก่อนพัฒนาระบบจริง
References ดาต้าโฟลว์. "การวิเคราะห์ระบบ(2)". [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:macare.net. [11 ต.ค 2017].
References ดาต้าโฟลว์. "ดีเอฟดี (DFD = Data Flow Diagrams) คืออะไร". [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:thaiall.com. [11 ต.ค 2017].
ภาพประกอบจาก: upload.wikimedia.org
Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม)
Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม)
การพัฒนาระบบในปัจจุบันนั้นจำเป็นต้องมีการออกแบบระบบต่างๆ ก่อนจะนำไปพัฒนาจริง ไม่ว่า จะเป็น Er-diagram(อีอาไดอะแกรม), Data Dictionary(ดาต้า ดิกชินนารี่) ซึ่งการพัฒนาส่วนใหญ่นั้นจะมีการไหลเวียนของข้อมูลอยู่ตลอด จึงจำเป็นจะต้องทำแผนภาพแสดงการไหลของข้อมูลของDatabase(ดาต้าเบส) SQL(เอสคิวแอล) โดยอย่างละเอียด ก่อนไปพัฒนาระบบจริง โดยได้มีการนำ Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม ไปใช้สร้างแผนภาพการไหลของข้อมูล
Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม) คือ เป็นเครื่องมือที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการเขียนแบบระบบใหม่ ในการเขียนแผนภาพจำลองการทำงานของกระบวนการ Process(โปรโซส) ต่าง ๆ ในระบบ และเป็นแผนภาพแสดงการไหลของข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายนอกเข้ามาในระบบ เพื่อแสดงวิธีการไหลของข้อมูลจากกระบวนการหนึ่งไปอีกกระบวนการหนึ่ง
Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม) จะช่วยแสดงแผนภาพการทำงานของโปรแกรมที่เข้าในระบบ ว่าข้อมูลจากไหนไปไหน เก็บข้อมูลไว้ที่ไหน และมีอะไรเกิดขึ้นกับข้อมูลระหว่างการส่งข้อมูลบ้าง ซึ่งปัจจุบันผู้พัฒนาระบบส่วนใหญ่ได้ใช้ Data Flow Diagrams(ดาต้าโฟลว์ ไดอะแกรม) ก่อนพัฒนาระบบจริง
References ดาต้าโฟลว์. "การวิเคราะห์ระบบ(2)". [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:macare.net. [11 ต.ค 2017].
References ดาต้าโฟลว์. "ดีเอฟดี (DFD = Data Flow Diagrams) คืออะไร". [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:thaiall.com. [11 ต.ค 2017].
ภาพประกอบจาก: upload.wikimedia.org
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)